เป้าหมาย (Understanding Goal)

เป้าหมายหลัก (Understanding Goal)
มีความรู้ความเข้าใจต่ออาหาร สามารถผลิตอาหารที่ปลอดภัยและกิน อยู่ อย่างมีคุณภาพ รวมทั้งสามารถออกแบบการกินของอาหารในรูปแบบของตนเอง (นวัตกรรมและการนำไปใช้ )ได้

Main



Mind Mapping





คำถามหลัก (Big Questions) : อาหารมีความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขได้อย่างไรบ้าง?

ภูมิหลังของปัญหา : 
       การเพิ่มจำนวนของประชากรโลกในปัจจุบันมีแนวโน้มสูงเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว ความต้องการบริโภคทรัพยากรก็เพิ่มมากขึ้นทุกด้าน ทําให้ความต้องการปัจจัยต่าง ๆ เพื่อการดํารงชีวิตเพิ่มตาม ไม่ว่าจะเป็นเรื่องอาหาร ที่อยู่อาศัย พลังงาน ฯลฯ และในปัจจุบันหลายพื้นทั่วโลกต้องประสบกับภาวะการขาดแคลนอาหาร อาหารไม่ปลอดภัยมีสารปนเปื้อน ดังนั้นการรู้จักเลือกรับประทานอาหารที่มีความพอเหมาะต่อความต้องการของร่างกายจึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีความปลอดภัยและหลีกเลี่ยงอาหารที่มีสารเคมีปนเปื้อนให้ได้มากที่สุด 



ปฏิทินการเรียนรู้



Week
Input
Possess
Output
Outcome

1
โจทย์ : ออกแบบการเรียนรู้
วิเคราะห์หลักสูตร 2551 วิชาบูรณาการ
- เรื่องที่อยากเรียนรู้
- วางแผนการเรียนรู้
Key  Questions :
- นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง?
- นักเรียนจะตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้อย่างไรให้น่าสนใจ?
- นักเรียนจะออกแบบปฏิทินการเรียนรู้อย่างไรให้น่าสนใจ?
เครื่องมือคิด :
- Think pair share เลือกชื่อหน่วย
- Black board share ตั้งชื่อหน่วย
- Mind Mapping สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
- Show and Share ออกแบบปฏิทินการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้:
- หนังสือหลักสูตรปี พ.ศ.2551
- บรรยากาศชั้นเรียน
- ดูสารคดี ถ้าอาหารหมดโลก” ซึ่งเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมต่างๆที่มีผลต่อปริมาณอาหารของโลก
- ดูสารคดี ถ้าอาหารหมดโลก” ซึ่งเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมต่างๆที่มีผลต่อปริมาณอาหารของโลก
วิเคราะห์หลักสูตร
- ตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้
- สรุปองค์ความรู้ก่อนเรียน
- ออกแบบปฏิทินการเรียนรู้ Quarter 1
- เขียนMind mapping ความรู้ก่อนเรียน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน :
วิเคราะห์ สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูสารคดี
- วิเคราะห์หลักสูตร
- ร่วมกันตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้และออกแบบปฏิทินการเรียนรู้
- สรุป Mind Mapping ก่อนการเรียนรู้

ชิ้นงาน :
- ชื่อหน่วยการเรียนรู้
- Mind Mapping (ก่อนเรียน)
- ปฏิทินการเรียนรู้ Quarter 1
-สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
สามารถออกแบบวางแผนกระบวนการเรียนรู้ ได้อย่างเหมาะสมและน่าสนใจ

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
2

โจทย์ : ออกแบบการเรียนรู้
- สิ่งที่อยากรู้/สิ่งที่รู้แล้ว
- วางแผนการเรียนรู้
Key  Questions :
- นักเรียนรู้อะไรบ้างและอยากรู้เรื่องอะไรบ้างในหน่วยที่ตนเองสนใจ?
- “ถ้านักเรียนต้องเลือกพันธุ์ข้าวที่ปลูก 4 เมล็ดให้ได้ผลผลิตมากที่สุด และใช้น้ำน้อยที่สุด จะเลือกอย่างไร?”
เครื่องมือคิด
- Brainstorm
- Show and Share
- Mind Mapping 
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
-       เมล็ดข้าวเปลือก
-       บรรยากาศในชั้นเรียน
-     เขียนสิ่งที่ตนเองรู้และอยากรู้ และช่วยกันเขียนสิ่งที่รู้แล้วและอยากรู้  
-     นักเรียนเขียน Mind Mapping ก่อนเรียน
-     นักเรียนเขียนความเหมือนและแตกต่างของข้าวที่สังเกต
-     นักเรียนจับคู่ค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับข้าวแต่ละสายพันธุ์ และวิธีการปลูกข้าว ออกแบบการนำเสนอ
-     นักเรียนนำเสนอสิ่งที่ได้ค้นหามา สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับการคัดเลือกเมล็ดพันธุ์และขั้นตอนการปลูกข้าว
-     นักเรียนคัดเลือกเมล็ดข้าวที่จะปลูก
-     นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ผ่านชิ้นงานตามรูปแบบความสนใจ  เช่น  ชาร์ตข้อมูล ภาพ   Mind mapping ฯลฯ  
ภาระงาน :
- สนทนาแลกเปลี่ยน วิเคราะห์สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ค้นหาข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์เพื่อนำมาปรับใช้ในการปลูกข้าว
- คัดเลือกพันธุ์ข้าว

ชิ้นงาน :
- Mind Mapping ก่อนเรียน
- ชาร์ตความรู้การคัดเลือกพันธุ์ข้าวและขั้นตอนการปลูกข้าว
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายขั้นตอนและกระบวนการในการเป็นผู้ผลิต (ข้าว) รวมทั้งสามารถเชื่อมโยงสิ่งที่อยู่รอบตัวเพื่อประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน

ทักษะ :
-   ทักษะชีวิต
-   ทักษะการสื่อสาร
-   ทักษะการจัดการข้อมูล
-   ทักษะการอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ
:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน
  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
3-4

โจทย์ :  อาหาร 5 หมู่
-          ประเภทของสารอาหาร
-          วิธีการตรวจสอบสารอาหาร
-          วางแผนการรับประทาน
Key  Questions :
- ในแต่ละวันนักเรียนรับประทานอะไรบ้าง อย่างไร?
- นักเรียนจะรับประทานอาหารในปริมาณเท่าไร จึงจะเพียงพอต่อความต้องการในร่างกายเรา?
- นักเรียนจะรู้ได้อย่างไรว่าอาหารแต่ละอย่างมีสารอาหารใดบ้าง?  
-     นักเรียนจะรู้ได้อย่างไรว่าร่างกายตนเองอ้วนผอม หรือ อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน
-     นักเรียนจะออกแบบตารางการบริโภคและพัฒนาสมรรถภาพด้านต่างๆของตนเองได้อย่างไร?         
เครื่องมือคิด :
-    Brainstorm
-    Show and share
-    Placemat
-     Web
-     Timeline
- BAR, DAR, AAR
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
ครู/นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- เมนูอาหาร
- บรรยากาศในชั้นเรียน
คลิปวีดีโอสั้น เรื่อง “เด็กกว่า 1 ล้านคนในแอฟริกาขาดอาหาร
ตาราง “คุณประโยชน์ของอาหารตามโทนสี
 - คอมพิวเตอร์ อินเตอร์เน็ต
- ครูให้นักเรียนสังเกตเมนูอาหารมื้อต่างๆ (แซนวิช ข้าวเหนียวหมูปิ้ง ก๋วยเตี๋ยว)
- นักเรียนเขียนอาหารที่รับประทานในมื้อเช้าของวัน ร่วมกันสนทนาได้คุณค่าจากอาหารเช้าอะไรบ้าง
- นักเรียนประมวลความเข้าใจและตั้งคำถามเกี่ยวกับอาหารมื้อเช้า
นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์ (เป้าหมายความเข้าใจเกี่ยวกับการรับประทานอาหารแต่ละมื้อ สารอาหาร คุณค่าที่ได้รับ)
นักเรียนออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอ
ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
ครูเปิดคลิปวีดีโอสั้น เรื่อง “เด็กกว่า 1ล้านคนในแอฟริกาขาดอาหาร”
-   นักเรียนค้นคว้าปริมาณสารอาหารที่ร่างกายต้องการในแต่ละช่วงวัย วัดดัชนีมวลกาย
-   สรุปการเรียนเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
-  สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับอาหารในมื้อเช้า 
- สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสารอาหารที่อยู่ในอาหาร
- นำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นเกี่ยวกับสารอาหารที่อยู่ในอาหารและวิธีการตรวจสอบสารอาหาร
- สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสารอาหารที่อยู่ในอาหาร
- ค้นหาและนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นเกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารในแต่ละช่วงวัย                                   

ชิ้นงาน
- Mind Mapping,ชาร์ตความรู้การ์ตูนช่อง เกี่ยวกับสารอาหารประเภทต่างๆ
- Timeline เกี่ยวกับการเลือกรับประทานอาหารในแต่ละช่วงวัย                                   
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
-     เข้าใจและสามารถอธิบายประเภทของสารอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายได้
-      เข้าใจและสามารถอธิบายการเลือกรับประทานอาหารของคนในแต่ละช่วงวัยได้
-      เข้าใจและอธิบายว่าร่างกายของตนเองอยู่ในเกณฑ์ อ้วนหรือผอม อีกทั้งนำมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้

ทักษะ
- ทักษะการวางแผน
- ทักษะการเลือกใช้เครื่องมือ
- ทักษะICT
- ทักษะการสื่อสาร
- ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอข้อมูลที่สืบค้นในรูปแบบชิ้นงานที่หลากหลาย อาทิเช่น Mind Mapping,ชาร์ตความรู้การ์ตูนช่อง ฯลฯ
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
5-6
โจทย์ : สารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต
-       อาหารและการทดสอบ
-       หน้าที่ประโยชน์
-       การแปรรูป (ประกอบอาหาร)          
Key  Questions :
- นักเรียนรู้สึกอย่างไร ในขณะที่อมข้าวไว้ในปาก?
- นักเรียนมีวิธีการตรวจสอบแป้ง (คาร์โบไฮเดรต) ในอาหารได้อย่างไรบ้าง?
เครื่องมือคิด :
-    Show and Share
-    Round Rubin
-    Brainstorm
- BAR, DAR, AAR
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- อุปกรณ์ตรวจสอบสารอาหารประเภทแป้ง(คาร์โบไฮเดรต)ที่อยู่ในใบพืชและอาหารประเภทต่างๆ
- ภาพ แป้งจากข้าว
- ใบพืชสำหรับการตรวจสอบ อาทิเช่น ใบถั่ว, ใบกล้วย, ใบอัญชัน, ใบข้าว ฯลฯ โดยอยู่ในสภาพ (กลางแจ้ง, ที่มืด) 
- อุปกรณ์แปรรูปอาหารและวัตถุดิบเช่น แป้ง น้ำตาล ฯลฯ
- บรรยากาศในชั้นเรียน
-รับประทานอาหารประเภทสารอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต (ขนมปังและข้าว) โดยใช้เวลาเคี้ยว 32 ครั้ง
- ทดลอง ตรวจสอบแป้ง (คาร์โบไฮเดรต) ในอาหาร
- ค้นคว้าประเภท ประโยชน์ อาหารที่พบคาร์โบไฮเดรต ออกแบบและนำเสนอ
-    แปรรูปอาหารประเภทคาร์โบไฮเดรต
ภาระงาน
- จัดเตรียมอุปกรณ์ที่ใช้ในการทดลอง อาทิเช่น ข้าว แป้ง มัน น้ำตาลประเภทต่างๆ ทดลองตรวจสอบสารอาหารประเภทแป้ง(คาร์โบไฮเดรต) ในพืช
- ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอ
- ร่วมนำเสนออภิปรายสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทดลอง
- สรุปสิ่งที่ได้ตรวจสอบสิ่งที่ได้เรียนรู้แป้ง(คาร์โบไฮเดรต) ในรูปแบบการ์ตูนช่อง
นักเรียนแต่ละคนออกแบบโจทย์ (เป้าหมายความเข้าใจเกี่ยวกับการแปรรูปอาหาร)
อภิปรายร่วมกันและสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ชิ้นงาน
- ผลการทดลองตรวจสอบคาร์โบไฮเดรต (สร้างชิ้นงานตามความถนัดของผู้เรียน เช่น Mind Mapping, ชาร์ตความรู้, การ์ตูนช่อง)
- อาหารแปรรูปจากคาร์โบไฮเดรต
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
-    เข้าใจและสามารถออกแบบวางแผนกระบวนการเรียนรู้สารอาหารประเภทแป้ง (คาร์โบไฮเดรต)  รวมทั้งกระบวนการตรวจสอบสารอาหารประเภทแป้ง (คาร์โบไฮเดรต) ในพืช และอาหารประเภทต่างๆ
-    เข้าใจและสามารถกระบวนการแปรรูปอาหารประเภทแป้ง (คาร์โบไฮเดรต) อีกทั้งสามารถนำไปปรับใช้ชีวิตประจำวันได้

ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะICT
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากกระบวนการทดลอง
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น

7-8
โจทย์ :
- สารอาหารประเภทโปรตีน
- การถนอมอาหารประเภทเนื้อสัตว์ ระยะเวลา 1 เดือน
- โครงสร้างการทำงานของร่างกาย
Key  Questions :
- ในระยะเวลา 1 เดือน นักเรียนจะมีวิธีการถนอมอาหารประเภทเนื้อได้อย่างไร?
- นักเรียนคิดว่าสารอาหารประเภทโปรตีนมีอยู่ในอาหารประเภทใด?
- นักเรียนคิดว่าโครงสร้างร่างกายของมนุษย์เหมือนหรือแตกต่างจากโครงสร้างของปลาอย่างไร?
เครื่องมือคิด :
-   Show and Share
- Round Rubin
- Brainstorm
- BAR, DAR, AAR

ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- เนื้อสัตว์ประเภทต่างๆ อาทิเช่น เนื้อหมู, เนื้อปลา, เนื้อไก่ ฯลฯ
- คอมพิวเตอร์ / อินเตอร์เน็ต
- อุปกรณ์สำหรับตรวจสอบโปรตีน
- สัตว์ประเภทต่างๆ อาทิเช่น ปลา, กบ ฯลฯ
- คอมพิวเตอร์ / อินเตอร์เน็ต
- อุปกรณ์ผ่าตัดปลา
- กล้องจุลทรรศน์
- นักเรียนแบบวิธีการถนอมอาหารประเภทเนื้อ ให้อยู่ได้ในระยะเวลา 1 เดือน และลงมือปฏิบัติ
โปรตีน
- ศึกษาอาหารที่มีโปรตีน และการตรวจสอบโปรตีน การทอสอบพร้อมนำเสนอ
- นักเรียนรู้เรื่องร่างกายมนุษย์จากวิทยาการ                   
- ครูและนักเรียนสนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับโครงสร้างร่างกายของมนุษย์และสัตว์ ผ่านการค้นคว้าและทดลองผ่าตัดสัตว์ เช่น กบ ปลา   
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้และสรุปแก่นของกิจกรรมการเรียนรู้
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- สืบค้นข้อมูลและนำเสนอวิธีการถนอมเกี่ยวกับวิธีการเก็บรักษาเนื้อสัตว์ประเภทต่างๆ อาทิเช่น เนื้อหมู, เนื้อปลา, เนื้อไก่ ฯลฯ
- เตรียมเนื้อที่ตนเองต้องการศึกษาคนละครึ่งกิโลกรัม เพื่อใช้สำหรับทดลองวิธีถนอมอาหารที่ตนเองได้ศึกษา
- สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับระบบการทำงาน ส่วนต่างๆของร่างกายมนุษย์และโครงสร้างการทำงานของร่างกายสัตว์ (ที่สนใจ) เพื่อใช้เป็นข้อมูลสำหรับศึกษาในกิจกรรมผ่าตัด เช่น ปลา กบ
- เตรียมอุปกรณ์สำหรับร่วมกิจกรรม ผ่าตัด
- ผ่าตัดสัตว์

ชิ้นงาน
- สมุดบันทึกเล่มเล็ก
- สรุปสิ่งที่เรียนรู้จากการตรวจสอบโปรตีนและกระบวนการถนอมอาหาร ในรูปแบบที่ตนเองสนใจ อาทิเช่น ชาร์ต, Mind Mapping, การ์ตูนช่อง
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
-  เข้าใจและสามารถอธิบายกระบวนการตรวจสอบสารอาหารประเภทโปรตีน พร้อมทั้งวิธีการถนอมอาหารประเภทเนื้อในรูปแบบที่หลากหลายได้
-  เข้าใจและสามารถอธิบายโครงสร้างการทำงานของร่างกายมนุษย์เปรียบเทียบกับโครงสร้างการทำงานของร่างกายสัตว์อื่นๆ ได้

ทักษะ
ทักษะชีวิต
ทักษะICT
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้
คุณลักษณะ
สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากกระบวนการทดลองในรูปแบบที่ตนเองสนใจ อาทิเช่น ชาร์ต, Mind Mapping, การ์ตูนช่อง
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
9
โจทย์ : เมนูอาหารจากเนื้อสัตว์ที่ผ่านการถนอมในระยะเวลา 1 เดือน
Key Question :
นักเรียนคิดว่าจะสามารถนำเนื้อสัตว์ของตนเองและเพื่อนในกลุ่มไปประกอบเป็นอาหารเมนูใดได้บ้าง?
เครื่องมือคิด :
-     Show and Share
-     Round Rubin
-     Flow chart
-     Brainstorm
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
- เนื้อสัตว์ที่ผ่านการถนอมในกระบวนการต่างๆ ในระยะเวลา 1 เดือน
- อุปกรณ์การทำอาหาร
- กล้องถ่ายทำรายการ
- คอมพิวเตอร์ / โปรแกรมตัดต่อVegas
-  นักเรียนแต่ละคนนำเนื้อของตนเองมาให้เพื่อนร่วมสังเกต และนักเรียนแต่ละคนนำเสนอ ขั้นตอนกระบวนการถนอมเนื้อสัตว์ของตนเองให้เพื่อนและคุณครูร่วมรับฟัง
- แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม กลุ่มละเท่าๆ กัน ประกอบเป็นอาหาร นำเสนอเมนูอาหารของตนเอง พร้อมวิธีการนำเสนอเมนูอาหารในรูปแบบรายการ
- นักเรียนแต่ละกลุ่มเตรียมอุปกรณ์ในการปรุงอาหาร ตามเมนูที่แต่ละกลุ่มสนใจ พร้อมทั้งถ่ายทำรายการอาหารควบคู่ไปด้วย
- รับประทานอาหารร่วมกันแล้วเสนอความคิดเห็น
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ เกี่ยวกับวิธีการถนอมอาหารและการประกอบการอาหารประเภทต่างๆ
- นักเรียนแต่ละคนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำอาหารลงในสมุดเล่มเล็ก
- ครูและนักเรียนร่วม AAR กิจกรรมออกแบบการเรียนรู้ ร่วมกัน
-  นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน
- นำเสนอ ขั้นตอนกระบวนการถนอมเนื้อสัตว์ของตนเอง
- นำเสนอเมนูอาหารของตนเอง พร้อมวิธีการนำเสนอเมนูอาหารในรูปแบบรายการ
- ร่วมพูดคุยวางแผนการทำงาน พร้อมแบ่งหน้าที่ให้เพื่อนๆ ในกลุ่ม สำหรับกิจกรรมถ่ายทำอาหาร
- เตรียมอุปกรณ์ในการปรุงอาหาร ตามเมนูที่แต่ละกลุ่มสนใจ พร้อมทั้งถ่ายทำรายการอาหาร
- อภิปรายร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ เกี่ยวกับวิธีการถนอมอาหารและการประกอบการอาหารประเภทต่างๆ
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำอาหารลงในสมุดเล่มเล็ก

ชิ้นงาน
- สมุดเล่มเล็ก
- Flow chart การทำอาหาร 
- คลิปตัดต่อรายการ
- เมนูอาหาร และ Story Board รายการ
สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถอธิบายวิธีการถนอมอาหารประเภทเนื้อสัตว์ตลอดระยะเวลา 1 เดือนได้อย่างมีคุณภาพ พร้อมทั้งสามารถนำมาประกอบเป็นอาหารเมนูต่างๆ ได้อย่างหลากหลาย
ทักษะ
ทักษะICT
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการเรียนรู้
ทักษะชีวิต
คุณลักษณะ
สร้างสรรค์และนำเสนอเมนูอาหารผ่านกระบวนการถ่ายทำรายการได้
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
10
โจทย์ :  Review กิจกรรมออกแบบการเรียนรู้
Key Questions :
- การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองที่มีเป้าหมายชัดเจนในแต่ละสัปดาห์ให้ผลเป็นอย่างไรบ้าง?
- จากรูปแบบกระบวนการเรียน 2 หน่วยที่ผ่านมา นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้างและอยากจะพัฒนาสิ่งใดบ้าง?
เครื่องมือคิด :
AAR กิจกรรมออกแบบการเรียนรู้
ร่วมกัน ตลอด 1 Quarter ที่ผ่านมา
- นักเรียนแบ่งกลุ่ม สรุปประเด็นจาก AAR และนำเสนอความเข้าใจ จาก 2 ประเด็น
       **  การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองที่มีเป้าหมายชัดเจนในแต่ละสัปดาห์ให้ผลเป็นอย่างไร
     ** จากรูปแบบกระบวนการเรียน 2หน่วยที่ผ่านมา นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้างและอยากจะพัฒนาสิ่งใด
Show and share นำเสนอความคิดเห็นเกี่ยวกับการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
ครู/นักเรียน

สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
บรรยากาศในชั้นเรียน

- ครูและนักเรียนร่วม AAR กิจกรรมออกแบบการเรียนรู้
ร่วมกัน ตลอด 1 Quarter ที่ผ่านมา
- นักเรียนแบ่งกลุ่ม สรุปประเด็นจาก AAR และนำเสนอความเข้าใจ จาก 2 ประเด็น
       **  การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองที่มีเป้าหมายชัดเจนในแต่ละสัปดาห์ให้ผลเป็นอย่างไร
     **จากรูปแบบกระบวนการเรียน 2 หน่วยที่ผ่านมา นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้างและอยากจะพัฒนาสิ่งใด
- ครูและนักเรียนอภิปรายร่วมกัน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน :
- ร่วม AAR กิจกรรมออกแบบการเรียนรู้ ร่วมกัน ตลอด 1Quarter ที่ผ่านมา
- นักเรียนแบ่งกลุ่ม สรุปประเด็นจาก AAR และนำเสนอความเข้าใจ จาก 2 ประเด็น
       **  การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองที่มีเป้าหมายชัดเจนในแต่ละสัปดาห์ให้ผลเป็นอย่างไร
     **จากรูปแบบกระบวนการเรียน 2 หน่วยที่ผ่านมา นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้างและอยากจะพัฒนาสิ่งใด
- อภิปรายร่วมกันและสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์

ชิ้นงาน :
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
- ชิ้นงานนำเสนอความคิดเห็นต่อประเด็นในวง AAR
ความรู้
เข้าใจและสามารถนำเสนอความคิดเห็นมุมมองด้านข้อดีและข้อด้อยของกระบวนการเรียนรู้ที่ผ่านมาเพื่อนำไปพัฒนาต่อได้

ทักษะ :
ทักษะชีวิต
ทักษะการสื่อสาร
ทักษะการจัดการข้อมูล
ทักษะการอยู่ร่วมกัน

คุณลักษณะ
:
- รับฟังและกล้าแสดงความคิดเห็น
- กระตือรือร้นในการทำงาน
  และการทำกิจกรรมจนสำเร็จ
- ทำงานให้สำเร็จอย่างมีเป้าหมาย
11

โจทย์ : สรุปและถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นได้ร่วมเรียนรู้
Key  Questions :
นักเรียนคิดว่าเราจะถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้ผู้อื่นเข้าใจ และร่วมเรียนรู้ได้อย่างไร
นักเรียนคิดว่า รูปแบบการนำเสนอเรื่องที่ตนเองได้เรียนรู้ ที่น่าสนใจควรเป็นอย่างไร
- นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้างใน Quarter นี้ 
- นักเรียนสามารถทำอะไรได้ดีแล้วบ้าง และอะไรที่ต้องพัฒนาเพิ่มเติม
เครื่องมือคิด :
-     Show and Share
-     Brainstorm
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้ :
ห้องเรียน
อุปกรณ์และชิ้นงาน
- ครูและนักเรียนร่วมทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- นักเรียนร่วมกันนทนาแลกเปลี่ยนความแสดงความคิดเห็น
 - นักเรียนจับฉลากแบ่งกลุ่มๆละ 4 คน แต่ละกลุ่มออกแบบ รูปแบบการนำเสนอ เพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้
นักเรียนแต่ละกลุ่มเตรียมอุปกรณ์และจัดสถานที่สำหรับนำเสนองานของตนเอง 
นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอ และถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนให้กับน้องๆ คุณครูและผู้ปกครอง
- นักเรียนสามารถทำอะไรได้ดีแล้วบ้าง และต้องพัฒนาเพิ่มเติม
- นักเรียนร่วมกันจัดนิทรรศการแสดงผลงาน
- ครูและนักเรียนร่วมสรุปข้อมูลอีกครั้งเพื่อทบทวนความเข้าใจเกี่ยวกับการเรียนรู้ตลอดภาคเรียนที่ 2 
ครูและนักเรียนร่วมกันตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้
-นักเรียนแต่ละคนเขียนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ภาระงาน :
ออกแบบ รูปแบบการนำเสนอ เพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้
การเตรียมอุปกรณ์และจัดสถานที่สำหรับนำเสนองาน
การนำเสนอ และถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ให้กับน้องๆ คุณครูและผู้ปกครอง
การตอบคำถามสิ่งที่อยากเรียนรู้ สิ่งที่ทำได้ดีแล้ว  สิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม

ชิ้นงาน
 :
- นิทรรศการจัดการเรียนรู้
- เขียนสิ่งที่ดีแล้ว-สิ่งที่ควรพัฒนา
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ความรู้
เข้าใจและสามารถถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้รวมทั้งเผยแพร่องค์ความรู้ที่เรียนมาให้คนอื่นเข้าใจและร่วมเรียนรู้ได้

ทักษะ
ทักษะชีวิต                    
ทักษะการวางแผน
ทักษะการรอยู่ร่วมกัน
คุณลักษณะ
สร้างสรรค์ความคิดเห็นและทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้
-  มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น


ตารางวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างสาระการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดแต่ละกลุ่มสาระ
หน่วย : “One health
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 Quarter 1 ภาคเรียนที่ 1/2559

กิจกรรม
Active learning
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้รายวิชากับตัวชี้วัด
วิทยาศาสตร์
(ว21101)
สังคมศึกษา  
(ส21101)
ประวัติศาสตร์
(ส21102)
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
(ง21101)
สุขศึกษาและพลานามัย
(พ21101)
ศิลปะ
(พ21101)
หน้าที่พลเมือง
(ส21201)
วิเคราะห์หลักสูตรการเรียนรู้และออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
 - ค้นหาข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์เพื่อนำมาปรับใช้ในการปลูกข้าว
- คัดเลือกพันธุ์ข้าว
-  ทดลองตรวจสอบสารอาหารประเภทแป้ง(คาร์โบไฮเดรต) ในพืช
- ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ และร่วมกันนำเสนอ
- นำเสนอวิธีการถนอมเกี่ยวกับวิธีการเก็บรักษาเนื้อสัตว์ประเภทต่างๆ อาทิเช่น เนื้อหมู, เนื้อปลา, เนื้อไก่ ฯลฯ
- เตรียมเนื้อที่ตนเองต้องการศึกษาคนละครึ่งกิโลกรัม เพื่อใช้สำหรับทดลองวิธีถนอมอาหารที่ตนเองได้ศึกษา
- ผ่าตัดสัตว์
- ปรุงอาหาร ตามเมนูที่แต่ละกลุ่มสนใจ พร้อมทั้งถ่ายทำรายการอาหาร
- จัดนิทรรศการจัดการเรียนรู้
มาตรฐาน ว8.1
สามารถตั้งคำถามหรือตัวแปรที่สำคัญในการสำรวจตรวจสอบรวมทั้งศึกษาเรื่องที่สนใจได้อย่างครอบคลุมและน่าเชื่อถือได้
(ว 8.1 ม.1/1)
สามารถรวบรวมข้อมูลจัดกระทำข้อมูลได้ (ว 8.1 ม.1/4)
สามารถสร้างคำถามที่นำไปสู่การสำรวจตรวจสอบในเรื่องที่เกี่ยวข้องแล้วนำความรู้ที่ได้ไปใช้ในสถานการณ์ใหม่ได้
(ว 8.1 ม.1/7)
บันทึกและอธิบายจากการสังเกตการสำรวจตรวจสอบค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆให้ได้ข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ยอมรับการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลที่ค้นพบได้
(ว 8.1 ม.1/8)
สามารถจัดแสดงผลงานเขียนรายงาน แสดงบทบาทสมมติ หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิดและกระบวนการ และผลของโครงงาน ชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้
(ว 8.1 ม.1/9)
มาตรฐาน ว 8.1
นักเรียนสามารถวิเคราะห์และตั้งคำถามจากสิ่งที่ได้ดู ได้ฟัง ได้อย่างครอบคลุมและมีเหตุผล  
(ว8.1 ม.2/1 )
นักเรียนสามารถบันทึกผลและอธิบายสิ่งต่างๆจากการสังเกตและค้นพบได้
(ว8.1 ม.2/8 )
มาตรฐาน ว 3.2
ทดลองและอธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสถานะของการละลายของสาร (ว3.2 ม.1/3)
มาตรฐาน ว 3.1
สามารถอธิบายสมบัติและการเปลี่ยนแปลงสถานะของสารโดยใช้แบบจำลองการจัดเรียงอนุภาคของสาร  (3.1ม.1/2)
สามารถทดลองและจำแนกประเภทของสารแต่ละชนิดได้ 
(3.1ม.1/1)
สามารถทดลองและอธิบายสมบัติความเป็นกรดและเบสของสารละลาย
 (3.1ม.1/3)
มาตรฐาน ว 2.1
สำรวจระบบนิเวศต่างๆในท้องถิ่นและอธิบายความ
สัมพันธ์ขององค์ประกอบภายในระบบนิเวศ 
(2.1ม.3/1)

มาตรฐาน ว 1.1
ทดลองและอธิบายผลที่ได้จากการสังเคราะห์ ด้วยแสงของพืช
(ว1.1ม.1/6)
อธิบายความสำคัญของกระบวนการสังเคราะห์  ด้วยแสงของพืชต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
(ว1.1ม.1/7)    
ทดลองและอธิบายกลุ่มเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการลำเลียงน้ำของพืช
(ว1.1ม.1/8)   
สังเกตและอธิบายโครงสร้างที่เกี่ยวกับระบบลำเลียง
น้ำและอาหารของพืช (ว1.1ม.1/9)   
ทดลองและอธิบายโครงสร้างของดอกที่เกี่ยวข้องกับการสืบพันธุ์ของพืช
(ว1.1ม.1/10)    
-อธิบายกระบวนการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศของพืชดอกและการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช โดยใช้ส่วนต่างๆ ของพืชเพื่อช่วยในการขยายพันธุ์
(ว1.1ม.1/11)     
มาตรฐาน ส1.1
- เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิตเพื่อการเรียนรู้และการดำเนินชีวิตได้ (ส1.1 ม.1/6)
- เห็นคุณค่าและวิเคราะห์การปฏิบัติตัวในการพัฒนาตนเพื่อการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ (1.1 ม.3/7)
มาตรฐาน ส2.2
สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ ชีวิตความเป็นอยู่ได้
(ส2.2 ม.1/2)
มาตรฐาน ส 2.1
นักเรียนสามารถปฏิบัติตามกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิของบุคคลเกี่ยวกับการนำเสนอความคิดเห็น (ส 2.1ม.1/1)
ระบุความสามารถของตนเอง ในการทำประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติได้ (ส 2.1ม.1/2)
-  นักเรียนสามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณค่าทางวัฒนธรรมที่เป็นปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจ นำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกันในการทำงานกลุ่ม (ส 2.1 ม.1/3)
นักเรียนสามารถ แสดงออก ถึงการเคารพในสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อื่นได้ ( 2.1 ม.1/4)
มาตรฐาน ส 3.1
 นักเรียนสามารถวิเคราะห์ค่านิยมและพฤติกรรมการบริโภคของคนในสังคมซึ่งส่งผลต่อเศรษฐกิจของชุมชนและประเทศได้  ( 3.1 ม.1/2)
มาตรฐาน ส 4.1
- วิเคราะห์ความแตกต่างของแต่ละชุมชน ที่สอดคล้องกับความจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
( 4.1  .1/2)
- ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวต่างๆที่ตนเองสนใจ
 ( 4.1  .3/2)
มาตรฐาน ส 4.2
 เปรียบเทียบความ  เหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมการกินของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ 
( 4.2  .2/1) 
มาตรฐาน ง1.1
เข้าใจและสามารถใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงาน(1.1 .1 /1)
เข้าใจและสามารถใช้กระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน 
(1.1 .1 /2 )
มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการปฏิบัติงานอย่างคุ้มค่า ( 1.1 .1/3 )
- อธิบายวิธีการทำงานเพื่อการดำรงชีวิต
 (ง 1.1 .4-6 /1 )
- สามารถสร้างผลงานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์และมีทักษะในการทำงานร่วมกัน
 (ง 1.1 .4-6 /2 )
- มีทักษะในการจัดการทำงาน (ง 1.1 .4-6 /3)
มีทักษะกระบวนการแก้ปัญหาในการทำงาน(ง1.1 .4-6 /4 )
มีทักษะในการแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสื่อเพื่อการดำรงชีวิต
 (ง1.1 .4 /5 )
มีคุณธรรมและลักษณะนิสัยในการทำงาน (ง1.1 .4-6 /6)
มาตรฐาน ง 1.1
 - สามารถนำทักษะการค้นคว้าข้อมูลความรู้ต่างๆที่เกี่ยวกับ สิ่งที่ได้ที่อ่านหรือสิ่งที่ได้ฟังจากสื่อต่างๆมาพัฒนาการทำงานของตนเองได้  ( 1.1 ม.2/1)
สามารถอธิบายขั้นตอนการทำงานของระบบต่างของร่างกายได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(ง 1.1 ม.3/1)
มาตรฐาน ง 2.1
สามารถอธิบายถึงเทคโนโลยีต่างที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับชีวิตและร่างกายของมนุษย์ได้
(ง 2.1 ม.2/1)
มีความคิดสร้างสรรค์ในด้านการใช้สมองในส่วนต่างๆในการทำงาน และสามารถบอกการทำงานของสมองส่วนต่างๆได้ (ง2.1 ม.2/3)
มาตรฐาน ง 3.1
สามารถอธิบายผลกระทบที่เกิดขึ้นกับร่างกายได้ เมื่อมีสิ่งเร้าเข้ามากระตุ้น
 ( 3.1 ม.1/2)
สามารถอธิบายหลักการนำเทคโนโลยีทางด้านการพัฒนาและดูแลสิ่งมีชีวิตมาปรับใช้ได้(ง 3.1 ม.2/2)
มาตรฐาน ง.1.1
นักเรียนสามารถใช้ทักษะการแสวงหา

มาตรฐาน ง.4.1
เห็นความสำคัญของการสร้างอาชีพ
(ง.4.1 ม.1/ 3)
ประเมินทางเลือกใน
การประกอบอาชีพที่สอดคล้องกับความรู้ความถนัดและความสนใจของตนเอง
(ง.4.1ม.3/ 3)
มาตรฐาน  พ 1.1
ระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านร่างกายอารมณ์ สังคมและสติปัญญาในวัยรุ่นได้ 
(พ 1.1 .1/2)
มาตรฐาน   2.1
 เข้าใจและสามารถอธิบายความสำคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
( 2.1 .3/1 )
มาตรฐาน   3.1
ใช้ความสามารถของตนเองเพื่อเพิ่มศักยภาพของทีม คำนึงถึงผลที่เกิดต่อผู้อื่นและชุมชน  ( 3.1 .3/2)
มาตรฐาน  3.2
เลือกเข้าร่วมกิจกรรมออกกำลังกายเล่นกีฬาตามความถนัดพร้อมทั้งวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาตนเอง  ( 3.2 ม.1/2)
มีวินัย ปฏิบัติตามกฎกติกา และข้อตกลงในการเล่นกีฬาที่เลือกได้ 
(3.2 ม.3/3)
นำผลในการปฏิบัติในการเล่นกีฬามาสรุปเป็นวิธีที่เหมาะสมกับร่างกายของตนเองด้วยความมุ่งมั่นได้ (3.2 ม.3/5)
มาตรฐาน พ 1.1
สามารถอธิบายความสำคัญของต่างๆของร่างกาย เช่น   ระบบประสาท ระบบต่อมไร้ท่อระบบทางเดินหายใจ ระบบขับถ่าย ระบบย่อยอาหาร ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ   ซึ่งมีผลต่อกาเจริญเติบโตของร่างกาย ได้ (พ1.1 .1/1)
 - สามารถอธิบายระบบการทำงานที่เป็นขั้นตอนของระบบต่างในร่างกายได้ (พ1.1 .1/2)
สามารถวิเคราะห์ภาวะการเจริญเติบโตของร่างกายตนเอง
ให้เจริญเติบโตสมวัยและเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานได้
(1.1 .1/3, 4)
สามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น ได้ 
( 1.1 .2/1)
สามารถระบุปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต และพัฒนาการด้านร่างกายและจิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญาในวัยรุ่น ได้ (พ1.1.2/2)
สามารถเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย  จิตใจ  อารมณ์ สังคม และสติปัญญา แต่ละช่วงของชีวิตได้ 
(1.1 .3/1)
สามารถวางแผนดูและสุขภาพตามภาวะการเจริญเติบโต และพัฒนาการของตนเองและบุคคลในครอบครัวได้  ( 1.1 .4-6/2)
สามารถอธิบายวิธีการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงทางร่างกาย   จิตใจ อารมณ์ และพัฒนาการทางเพศอย่างเหมาะสมได้
  ( 2.1.1/1)
มาตรฐาน พ 3.2
นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา ในการทำงานต่างๆได้(พ.3.2 ม.2/ 3)
มาตรฐาน ศ1.1
วาดภาพโดยใช้เทคนิคของแสง เงา น้ำหนัก และวรรณะสี   สร้างงานทัศนศิลป์เป็นแผนภาพแผนผังและภาพประกอบเกี่ยวกับเรื่องที่อยากเรียนรู้และสนใจ เพื่อถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจ 
( 1.1 .1/3)
จุดเน้นที่ 1
สามารถอธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ
เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตาม สถานภาพ บทบาท เสรีภาพ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย
วิเคราะห์บทบาทและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคมได้
สามารถอธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและต่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
สามารถเสนอแนวคิดในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก
สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน 
จุดเน้นที่ 2
สามารถอธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชน และประเทศ
เห็นคุณค่าในการปฏิบัติตาม สถานภาพ บทบาท เสรีภาพ หน้าที่ ในฐานะพลเมืองตามวิถีประชาธิปไตย
วิเคราะห์บทบาทและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคมได้
จุดเน้นที่ 3
สามารถอธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทย
จุดเน้นที่ 4
และต่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย เพื่อนำไปสู่ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
สามารถเสนอแนวคิดในการดำรงชีวิตอย่างมีความสุขในประเทศและสังคมโลก
จุดเน้นที่ 5
สามารถวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปัจจุบัน
มาตรฐาน ศ 1.1
สามารถบรรยายความแตกต่างของเซลล์พืชและเซลล์สัตว์โดยใช้พื้นฐานของการสังเกตองค์ประกอบต่างๆของธรรมชาติได้ (ศ 1.1 .1/1)
สามารถระบุและอธิบายหน้าที่ของส่วนประกอบต่างๆที่อยู่ภายในเซลล์ต่างๆได้
(ศ 1.1ม.1/2)
สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้ (ศ 1.1ม.1/5)
วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลาย
ในการสื่อความหมายและเรื่องราวต่าง ๆ
(ศ1.1ม.2/3)
สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์และจินตนาการ
(ศ1.1ม.3/6)
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
สามารถวิเคราะห์ และวิจารณ์ เนื้อหาที่ได้ศึกษา เช่น จากการดู VDO  การรับฟังจากที่ครูผู้สอน ร่วมถึง ชิ้นงานของตนเองและผู้อื่นได้  ( 1.1 ม.3/8)
มาตรฐาน ศ 1.2
สามารถระบุและบรรยายเกี่ยวกับรูปแบบและลักษณะรูปแบบการทำงานของระบบร่างกายส่วนต่างๆได้
(ศ 1.2 ม.1/1)
-  สามารถเปรียบเทียบความแตกต่างของความต้องการ ของสิ่งมีชีวิตต่างๆได้ (ศ 1.2ม.1/3)
มาตรฐาน ศ 3.2
สามารถระบุปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิตได้
(ศ3.2 ม.1/1)
มาตรฐานศ1.1
สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้ (ศ1.1ม.1/5)
วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลาย
ในการสื่อความหมาย
และเรื่องราวต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)
สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ
(ศ1.1ม.3/6)
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)





มาตรฐาน พ 3.2
นักเรียนมีวินัยและสามารถปฏิบัติตามกฎกติกา ในการทำงานต่างๆได้ (พ.3.2 ม.2/ 3)
มาตรฐาน 1.1
สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้ (ศ1.1ม.1/5)
วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลาย ในการสื่อความหมาย
และเรื่องราวต่าง ๆ (ศ1.1ม.2/3)
สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ
(ศ1.1ม.3/6)
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)
มาตรฐาน 1.1
สามารถนำเสนอข้อมูลที่ได้สืบค้นและทำความเข้าใจจากแหล่งความรู้ต่างๆ โดยได้สื่อออกมาผ่านรูปภาพและกระบวนการคิดได้ (ศ1.1ม.1/5)
วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมาย   และเรื่องราวต่าง ๆ
(ศ1.1ม.2/3)
สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติเพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ
(ศ1.1ม.3/6)
สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์สื่อความหมายเป็นเรื่องราว
(ศ1.1ม.3/7)





ตารางความสัมพันธ์ Core Subject
หน่วย : “One health
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1/2559

สุขภาพ
เศรษฐศาสตร์และการประกอบการ
สิ่งแวดล้อม
หน้าที่พลเมือง
-  ร่างกายต้องการสารอาหารครบถ้วนตามหลักโภชนาการ 
-  อาหารปลอดภัย
-  สุขภาวะที่ดีส่งเสริมสุขภาพที่ดีด้วย
-  อาหารไม่ปลอดภัย ไม่สะอาด มีสารปนเปื้อนก่อให้เกิดการเจ็บป่วย
-  ความต้องการอาหารของร่างกายในแต่ละช่วงวัย เพศ และรูปร่าง ล้วนแตกต่างกัน
-  การออกกำลังกายเป็นองค์ประกอบหนึ่งของการมีสุขภาพที่ดี
-  ฐานะทางเศรษฐกิจและระดับการศึกษาของประชาชนส่งผลกระทบต่อภาวะโภชนาการและสุขภาพ
-    การผลิต ความต้องการอาหารในปริมาณมากและมีความหลากหลาย
-    ปัจจัยและพฤติกรรมในการเลือกบริโภค สะดวก สบาย
-    ปัญหาการทางธุรกิจ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องการผู้ผลิตและผู้บริโภค
-    การจัดการ การเพิ่มมูลค่าสินค้า
 - การผลิตและการแข่งขันทางการค้า   การใช้บริการที่ทั่วถึง มีการกระจายสินค้า และโฆษณา
-     ความเชื่อมโยงของสิ่งต่างๆ อาหารที่ปนเปื้อนแล้วยังอาจได้รับสารพิษทางห่วงโซ่อาหาร จากการที่พืชได้รับสาร มลพิษจากอากาศ ดิน หรือน้ำแล้วเก็บสะสมไว้ 
-     มีกระบวนการผลิตที่ทำลายสิ่งแวดล้อม ไม่มีการกำจัดขยะหรือของเสียที่เป็นพิษ ขาดการจัดการที่ดี
-     ก๊าซเรือนกระจกนอกจากจะทำอันตรายต่อสุขภาพมนุษย์โดยตรงแล้ว ยังมีผลต่อพืชและสัตว์ที่มนุษย์ใช้เป็นอาหาร จึงมีผลกระทบต่อภาวะโภชนาการ
-     แหล่งอาหารที่เกิดจากธรรมชาติที่สมดุล
-     แหล่งอาหารธรรมชาติน้อยลง ทำให้มนุษย์ต้องมีอุตสาหกรรมมารองรับและทำให้เกิดมลพิษ และผลกระทบอื่นๆ ตามมา
-     ซื่อสัตย์สุจริต ขยันหมั่นเพียร อดทน ใฝ่หาความรู้ ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ ยอมรับผลที่เกิดจากการกระทำของตนเอง
-     เคารพ และอยู่ร่วมกันในสังคมแห่งความหลากหลายได้
-     การจัดการความขัดแย้งและสร้างสันติวิธีในการอยู่ร่วมกัน
-     มารยาทไทย (การแสดงความเคารพ การสนทนา การแต่งกา การมีสัมมาคารวะ)
-     ความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละ และรับผิดชอบต่อสังคม
-     ขนบธรรมเนียม ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย